ชื่อ/รายละเอียด/โครงการ/กิจกรรม/Activity/Lecture/Reasearch/Conference

โครงการการพัฒนาชุดการเรียนรู้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robotics and Automation) เพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ


ชื่อโครงการ/Project Name:

โครงการการพัฒนาชุดการเรียนรู้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robotics and Automation) เพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ

 

ที่มาและความสำคัญ(Background and importance) *:

การเปลี่ยนแปลงด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำให้โรงเรียนด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีต้องปรับตัวให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง หลักสูตรด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robotics and Automation) เริ่มเป็นที่รู้จักและได้รับความสนใจจากนักเรียนมากขึ้น ทั้งนี้ สสวท. ในฐานะของสถาบันผู้ส่งเสริมการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงต้องมีการเตรียมความพร้อม และเดินหน้าในการพัฒนา หลักสูตรด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robotics and Automation)

วัตถุประสงค์/Objective *:

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ได้ดำเนินโครงการการพัฒนาชุดการเรียนรู้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robotics and Automation) เพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ ขึ้น เพื่อหาแนวทางการพัฒนากิจกรรมหลักสูตรหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robotics and Automation) ทั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียนที่มีความสนใจด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robotics and Automation) โครงการดังกล่าวเห็นว่า รศ.ดร.ปัญรสี ฤทธิประวัติ และ Dr. Keita Ono อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ เป็นผู้มีความรู้ และมีความเชี่ยวชาญในด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robotics and Automation) จึงได้เชิญเพื่อมาพิจารณาร่างหลักสูตรและให้ความเห็นที่จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการเรียนการสอนของหลักสูตรด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robotics and Automation) ในอนาคต

วันที่เริ่มกิจกรรม/โครงการ *:

2020-10-09

สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ:

ไทย

วันสิ้นสุดกิจกรรม/โครงการ *:

2020-11-13

สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ
(Activity / project location):

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/
ผู้มีส่วนได้เสีย(Related Stakeholders) *:

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท) กระทรวงศึกษาธิการ และโรงเรียนเครือข่ายสสวท.

หน่วยงานที่รับผิดชอบ(Responsible agency) *:

ผลกระทบต่อสังคมที่ประเมินได้(social impact) *:


รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ
(Activity / project implementation model) *:

กิจกรรม / การบรรยาย

จำนวน/ผู้ร่วมกิจกรรม(คน)
(Target / Activity country) *:

30 คน

กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม
(Target / Activity group) *:

• คน เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม (outcome / social impact) • ความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน การเปลี่ยนแปลงด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำให้โรงเรียนด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีต้องปรับตัวให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง การเตรียมความพร้อมของการดำเนินการหลักสูตรใหม่ๆและเป็นที่สนใจของเยาวชน เช่น หลักสูตรหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robotics and Automation) นี้ จะช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนในอนาคต

วันที่เริ่มนำไปใช้ *:

2020-11-14

ไฟล์เอกสาร

03022022110422_รูปภาพโครงการการพัฒนาชุดการเรียนรู้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (BIO).pdf

เอกสารอ้างอิง(Reference document) (link/url) *:

- เว็บไซด์/เพจ FB : คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.มหิดล - เว็บไซด์/เพจ ภาควิชา BIO : คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.มหิดล - เพจ FB : วิศวะมหิดลเพื่อสังคม

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอันดับ1 (1 Related SDGs Goal) *:

เป้าหมายที่ 4: สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอันดับ2 (2 Related SDGs Goal) *:

เป้าหมายที่ 17: เสริมความเข้มแข็งให้แก่กลไกการดำเนินงานและฟื้นฟูสภาพหุ้นส่วนความร่วมมือระดับโลกสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน